วิชาสัตตภิธรรม



  • - ประวัติสุวรรณโคมคำ
  • - กสิณกรรมฐานอันได้แก่มหาภูตรูป 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ
  • - สอบอารมณ์กรรมฐาน
  • - ดาราวิภาค
  • - ภูมิทักษา ยามอัฎฐกาล เสาสิเนรุ
  • - จุติ ภพทั้ง 21
  • - ภูมิกำเนิด กุศล และอกุศลวิบาก จุติปกรณ์
  • - พระพุทธรักษา ปฏิสนธิปกรณ์ ภูมิทักษาหลวง
  • - การสัมพันธ์ภพ วิธีคำนวณกุศลและอกุศลวิบาก
  • - ดาวเสวยอายุ ดาวแทรก ฐานที่4
  • - ฉัตรสามชั้น กาลโยค วิธีคำนวณขึ้นแรม
  • - สัตตาภิธรรมวัน สัตตาภิธรรมยามใหญ่
  • - ยามอุบัติการณ์ นามมงคล
  • - ยาเบญจกูล กรรมจักร         
  • การศึกษาวิชาโหราศาสตร์ สำหรับพุทธบริษัท ตามคัมภีร์สุวรรณโคมคำ นี้แตกต่างไปจากการศึกษาโหราศาสตร์ จากตำราอื่นๆ เนื่องจาก คัมภีร์สุวรรณโคมคำ ยึดหลักของพระพุทธศาสนาว่าด้วยเรื่อง กฎแห่งกรรม โดยดำเนินตามหลักธรรมอันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงเป็นพุทธเทศนาแก่พระอรหันตสาวก โดยยกเอาเรื่อง เหตุ และ ผลของกรรม เป็นเครื่องพิจารณา
    เมื่อพระพุทธองค์ทรงตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ จึงเสด็จไปเทศนาโปรดอัญญโกทัญญะ
    อดีตโหราจารย์ผู้ทำนายพุทธลักษณะ ด้วยกรรมจักรกัปปวัฒนสูตร อันเป็นหัวใจแห่งพุทธศาสนาสรุปได้ว่า
    “ เย ธมฺมา เหตุปปฺภวา
    เยสํ โหตํ ตถาคโต อาห
    เตสญจ โย นิโรดธ จ
    เอวํ วาที มหาสมโณ”
    “ ธรรมใดเกิดแต่เหตุ
    พระศาสดาแสดงเหตุธรรมนั้น
    ด้วยความดับไปแห่งธรรมนั้น
    พระศาสดาแสดงอย่างนี้”
    อันธรรมทั้งหลายทั้งปวงย่อมอยู่ภายใต้ เหตุ หรือเรียกว่า กรรม อันทำให้ สัตว์โลกเวียนว่ายอยู่ใน
    วัฏฏสงสาร ทั้งสิ้นไม่มีใครพ้น กรรม ไปได้ดังมีพุทธพจน์ว่า กมฺมุนา วตตี โลโก สัตว์ทั้งหลายย่อมเป็นไปตามกรรม
    และได้ทรงแสดง อนตฺตลกฺขณสูตร อันเป็นเรื่องเกี่ยวกับองค์ประกอบแห่งชีวิต สัตว์ และ
    องค์ประกอบสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นโดย กรรม นั้นมี 5 ประการเรียกว่า เบ็ญจขันธ์ คือ
    1. รูป ได้แก่ส่วนประกอบที่เป็นรูปธรรม ซึ่งเรามองเห็นได้ด้วยตาทั้งหมดอันได้แก่ อวัยวะของร่างกายคือ แขน ขา ตา หู จมูก ปาก เป็นต้น
    2. เวทนา ได้แก่ความรู้สึกสุข ทุกข์ พอใจ เสียใจ หรือ เฉยๆ ซึ่งเกิดจากการสัมผัสของอายตนะทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นต้น
    3. สัญฺญา การกำหนดจำได้หมายรู้ แยกแยะได้ว่าสิ่งนั้นคืออะไร เรียกว่าอะไร คือสามารถรู้ข้อมูลที่แสดงความหมายของสัญลักษณ์ที่ชาวโลกใช้เรียกอันได้แก่ นามหรือ สรรพนาม เป็นต้น
    4. สงฺขาร องค์ประกอบ และคุณสมบัติต่างๆของจิตที่ปรุงแต่งให้ดีหรือชั่ว ได้แก่ความคิด
    ทางกุศลหรืออกุศล เช่น โลภ โทสะ โมหะ และ พรหมวิหาร ๔ เป็นต้น
    5. วิญฺญาณ การรับรู้ของอารมณ์ รูป เสียง กลิ่น รส โผสฐัพพะ จากประสาท ต่างๆ
    เป็นต้น
    เบ็ญจขันธ์ทั้ง 5 นี้ เกิดขึ้น(อุปาท)ดำรงสภาพ(ฐิติ)สิ้นสุดสลายไป(ภงฺค)ด้วยอำนาจแห่งกรรม
    ซึ่งเกิดขึ้นจากการกระทำของผู้นั้น กรรม นี้คือ เหตุ อันจะแสดง ผล สนองต่อผู้กระทำไปเรื่อยจนกว่าจะหมด คล้ายกับการเป็นหนี้ที่ต้องใช้หนี้ ให้หมดไปนี้เรียกว่า ผลกรรม ซึ่งจะแสดงผลทั้ง กุศลกรรม(ความดี) และ อกุศลกรรม(ความชั่ว) ในทางปรมัตเรียก ผลกรรม นี้ว่า วิบาก ซึ่งจะแสดงผลให้ สัตว์โลก นั้นได้รับสุข หรือ ทุกข์ ตาม วิบาก หรือ ผลกรรม ของตนนั้น มี 2 ประการ
    1. กรรมในอดีต (ปุพฺเพกตปุญฺญตา) คือ กรรมที่ได้กระทำไว้ในชาติปางก่อน และผลกรรมนั้นติดตัวมากับ จุติ และเข้า ปฏิสนธิ ในชาตินี้ เพื่อได้รับผลกรรมที่ตนได้กระทำไว้นั้น
    2. เวทนา ได้แก่ความรู้สึกสุข ทุกข์ พอใจ เสียใจ หรือ เฉยๆ ซึ่งเกิดจากการสัมผัสของอายตนะทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นต้น
    3. สัญฺญา การกำหนด

    จำได้หมายรู้ แยกแยะได้ว่าสิ่งนั้นคืออะไร เรียกว่าอะไร คือสามารถรู้ข้อมูลที่แสดงความหมายของสัญลักษณ์ที่ชาวโลกใช้เรียกอันได้แก่ นามหรือ สรรพนาม เป็นต้น
    4. สงฺขาร องค์ประกอบ และคุณสมบัติต่างๆของจิตที่ปรุงแต่งให้ดีหรือชั่ว ได้แก่ความคิด
    ทางกุศลหรืออกุศล เช่น โลภ โทสะ โมหะ และ พรหมวิหาร ๔ เป็นต้น
    5. วิญฺญาณ การรับรู้ของอารมณ์ รูป เสียง กลิ่น รส โผสฐัพพะ จากประสาท ต่างๆ
    เป็นต้น
    เบ็ญจขันธ์ทั้ง 5 นี้ เกิดขึ้น(อุปาท)ดำรงสภาพ(ฐิติ)สิ้นสุดสลายไป(ภงฺค)ด้วยอำนาจแห่งกรรม
    ซึ่งเกิดขึ้นจากการกระทำของผู้นั้น กรรม นี้คือ เหตุ อันจะแสดง ผล สนองต่อผู้กระทำไปเรื่อยจนกว่าจะหมด คล้ายกับการเป็นหนี้ที่ต้องใช้หนี้ ให้หมดไปนี้เรียกว่า ผลกรรม ซึ่งจะแสดงผลทั้ง กุศลกรรม(ความดี) และ อกุศลกรรม(ความชั่ว) ในทางปรมัตเรียก ผลกรรม นี้ว่า วิบาก ซึ่งจะแสดงผลให้ สัตว์โลก นั้นได้รับสุข หรือ ทุกข์ ตาม วิบาก หรือ ผลกรรม ของตนนั้น มี 2 ประการ
    1. กรรมในอดีต (ปุพฺเพกตปุญฺญตา) คือ กรรมที่ได้กระทำไว้ในชาติปางก่อน และผลกรรมนั้นติดตัวมากับ จุติ และเข้า ปฏิสนธิ ในชาตินี้ เพื่อได้รับผลกรรมที่ตนได้กระทำไว้นั้น
    2. เวทนา ได้แก่ความรู้สึกสุข ทุกข์ พอใจ เสียใจ หรือ เฉยๆ ซึ่งเกิดจากการสัมผัสของอายตนะทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นต้น
    3. สัญฺญา การกำหนดจำได้หมายรู้ แยกแยะได้ว่าสิ่งนั้นคืออะไร เรียกว่าอะไร คือสามารถรู้ข้อมูลที่แสดงความหมายของสัญลักษณ์ที่ชาวโลกใช้เรียกอันได้แก่ นามหรือ สรรพนาม เป็นต้น 4. สงฺขาร องค์ประกอบ และคุณสมบัติต่างๆของจิตที่ปรุงแต่งให้ดีหรือชั่ว ได้แก่ความคิด
    ทางกุศลหรืออกุศล เช่น โลภ โทสะ โมหะ และ พรหมวิหาร ๔ เป็นต้น
    5. วิญฺญาณ การรับรู้ของอารมณ์ รูป เสียง กลิ่น รส โผสฐัพพะ จากประสาท ต่างๆ
    เป็นต้น
    เบ็ญจขันธ์ทั้ง 5 นี้ เกิดขึ้น(อุปาท)ดำรงสภาพ(ฐิติ)สิ้นสุดสลายไป(ภงฺค)ด้วยอำนาจแห่งกรรม
    ซึ่งเกิดขึ้นจากการกระทำของผู้นั้น กรรม นี้คือ เหตุ อันจะแสดง ผล สนองต่อผู้กระทำไปเรื่อยจนกว่าจะหมด คล้ายกับการเป็นหนี้ที่ต้องใช้หนี้ ให้หมดไปนี้เรียกว่า ผลกรรม ซึ่งจะแสดงผลทั้ง กุศลกรรม(ความดี) และ อกุศลกรรม(ความชั่ว) ในทางปรมัตเรียก ผลกรรม นี้ว่า วิบาก ซึ่งจะแสดงผลให้ สัตว์โลก นั้นได้รับสุข หรือ ทุกข์ ตาม วิบาก หรือ ผลกรรม ของตนนั้น มี 2 ประการ
    1. กรรมในอดีต (ปุพฺเพกตปุญฺญตา) คือ กรรมที่ได้กระทำไว้ในชาติปางก่อน และผลกรรมนั้นติดตัวมากับ จุติ และเข้า ปฏิสนธิ ในชาตินี้ เพื่อได้รับผลกรรมที่ตนได้กระทำไว้นั้น
    2. เวทนา ได้แก่ความรู้สึกสุข ทุกข์ พอใจ เสียใจ หรือ เฉยๆ ซึ่งเกิดจากการสัมผัสของอายตนะทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นต้น
    3. สัญฺญา การกำหนดจำได้หมายรู้ แยกแยะได้ว่าสิ่งนั้นคืออะไร เรียกว่าอะไร คือสามารถรู้ข้อมูลที่แสดงความหมายของสัญลักษณ์ที่ชาวโลกใช้เรียกอันได้แก่ นามหรือ สรรพนาม เป็นต้น

    4. สงฺขาร องค์ประกอบ และคุณสมบัติต่างๆของจิตที่ปรุงแต่งให้ดีหรือชั่ว ได้แก่ความคิด
    ทางกุศลหรืออกุศล เช่น โลภ โทสะ โมหะ และ พรหมวิหาร ๔ เป็นต้น
    5. วิญฺญาณ การรับรู้ของอารมณ์ รูป เสียง กลิ่น รส โผสฐัพพะ จากประสาท ต่างๆ
    เป็นต้น
    เบ็ญจขันธ์ทั้ง 5 นี้ เกิดขึ้น(อุปาท)ดำรงสภาพ(ฐิติ)สิ้นสุดสลายไป(ภงฺค)ด้วยอำนาจแห่งกรรม
    ซึ่งเกิดขึ้นจากการกระทำของผู้นั้น กรรม นี้คือ เหตุ อันจะแสดง ผล สนองต่อผู้กระทำไปเรื่อยจนกว่าจะหมด คล้ายกับการเป็นหนี้ที่ต้องใช้หนี้ ให้หมดไปนี้เรียกว่า ผลกรรม ซึ่งจะแสดงผลทั้ง กุศลกรรม(ความดี) และ อกุศลกรรม(ความชั่ว) ในทางปรมัตเรียก ผลกรรม นี้ว่า วิบาก ซึ่งจะแสดงผลให้ สัตว์โลก นั้นได้รับสุข หรือ ทุกข์ ตาม วิบาก หรือ ผลกรรม ของตนนั้น มี 2 ประการ

    1. กรรมในอดีต (ปุพฺเพกตปุญฺญตา) คือ กรรมที่ได้กระทำไว้ในชาติปางก่อน และผลกรรมนั้นติดตัวมากับ จุติ และเข้า ปฏิสนธิ ในชาตินี้ เพื่อได้รับผลกรรมที่ตนได้กระทำไว้นั้น
    2. เวทนา ได้แก่ความรู้สึกสุข ทุกข์ พอใจ เสียใจ หรือ เฉยๆ ซึ่งเกิดจากการสัมผัสของอายตนะทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นต้น
    3. สัญฺญา การกำหนดจำได้หมายรู้ แยกแยะได้ว่าสิ่งนั้นคืออะไร เรียกว่าอะไร คือสามารถรู้ข้อมูลที่แสดงความหมายของสัญลักษณ์ที่ชาวโลกใช้เรียกอันได้แก่ นามหรือ สรรพนาม เป็นต้น 4. สงฺขาร องค์ประกอบ และคุณสมบัติต่างๆของจิตที่ปรุงแต่งให้ดีหรือชั่ว ได้แก่ความคิด
    ทางกุศลหรืออกุศล เช่น โลภ โทสะ โมหะ และ พรหมวิหาร ๔ เป็นต้น
    5. วิญฺญาณ การรับรู้ของอารมณ์ รูป เสียง กลิ่น รส โผสฐัพพะ จากประสาท ต่างๆ
    เป็นต้น
    เบ็ญจขันธ์ทั้ง 5 นี้ เกิดขึ้น(อุปาท)ดำรงสภาพ(ฐิติ)สิ้นสุดสลายไป(ภงฺค)ด้วยอำนาจแห่งกรรม
    ซึ่งเกิดขึ้นจากการกระทำของผู้นั้น กรรม นี้คือ เหตุ อันจะแสดง ผล สนองต่อผู้กระทำไปเรื่อยจนกว่าจะหมด คล้ายกับการเป็นหนี้ที่ต้องใช้หนี้ ให้หมดไปนี้เรียกว่า ผลกรรม ซึ่งจะแสดงผลทั้ง กุศลกรรม(ความดี) และ อกุศลกรรม(ความชั่ว) ในทางปรมัตเรียก ผลกรรม นี้ว่า วิบาก ซึ่งจะแสดงผลให้ สัตว์โลก นั้นได้รับสุข หรือ ทุกข์ ตาม วิบาก หรือ ผลกรรม ของตนนั้น มี 2 ประการ
    1. กรรมในอดีต (ปุพฺเพกตปุญฺญตา) คือ กรรมที่ได้กระทำไว้ในชาติปางก่อน และผลกรรมนั้นติดตัวมากับ จุติ และเข้า ปฏิสนธิ ในชาตินี้ เพื่อได้รับผลกรรมที่ตนได้กระทำไว้นั้น
    2. กรรมในปัจจุบัน (ปจฺจุบันกมมฺ) คือ กรรมที่ทำในขณะปัจจุบันแล้วได้รับผล หรือ แสดงผลในทันทีทันใด เช่น การทำบุญกับพระอรหันต์เจ้าเป็นต้น
                 
                                                                                                 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น